[Program] The 28th Annual Meeting of the Philosophy and Religion Society of Thailand

Mahachakri Building, Faculty of Arts, Chulalongkorn University
December 12-14, 2024

Program

Thursday, December 12, 2024

8.30 – 9.00 Registration

Room 401/5

9.15 – 9.45 Tarik Tijanovic, Against Dasgupta’s Naturalization of the PSR

9.45 – 10.15 Debopama Bose, Vitaṇḍā: A Futile Harassment or an Intellectual Exercise?

10.15 – 10.45 Saheb Samanta, Recognising Recognition: A Philosophical Interpretation of Pratyabhijñā

Room 404/8

9.15 – 9.45 Christine Carmela R. Ramos, Love, Non-Violence, and Harmony in Filipino Culture: Indigenous Perspectives and Their Cultural Significance

9.45 – 10.15 Tyler Dalton McNabb, The Shentong Tradition and Classical Theism: A Synthesis?

10.15 – 10.45 Frank J. Hoffman, Some Parallels between Buddhism and Wittgenstein

10.45 – 11.00 Break

Room 401/5

11.00 – 11.30 Prateek Chaubey and Ranjan K. Panda, Inner Peace and Outer Engagement: Self-Knowledge in Epicureanism and the Bhagavad Gita

11.30 – 12.00 Rahul Biswas and Prajwal Bhosale , The Mahabharata Through the Lens of Brahma Kumaris Knowledge: An Exploration of Inner Transformation and Spiritual Philosophy

Room 404/8

11.00 – 11.30 Thomas Rule, Homesickness and Homecoming: Heidegger and Our Uncanny Dwelling

11.30 – 12.00 Nahum Brown, The Philosophical Import of Possible World Fiction: Four Categories

12.00 – 13.00 Lunch

13.15 – 13.30 Opening Ceremony

13.30 – 14.30 Keynote Prach Panchakunathorn, When to Bail Risk-Takers Out?: Alleviation vs. Cost-Bearing

Room 401/5

14.35 – 15.05 Qingxuan Wang, A Self-negating Negation: On Nāgārjuna’s Notion of Emptiness in the Mūlamadhyamakakārikā (Chapters I, XXIV, and XXV)

15.05 – 15.35 Billy Wheeler, Does Vipassanā Meditation Provide Factual or Practical Knowledge? In Defense of a Knowledge-That Interpretation

Room 404/8

14.35 – 15.05 ณัฎฐพล บุณยพิพัฒน์, โทมัส มอร์กับยูโทเปีย

15.05 – 15.35 วิมลรัตน์ ศรีโยหะ, การเปรียบเทียบแนวคิดประชาธิปไตยในทรรศนะของเพลโต อริสโตเติลและพัฒนาการแนวคิดประชาธิปไตยในปัจจุบัน

15.35 – 15.50 Break

Room 401/5

15.50 – 16.10 Rituparna Roy, Consciousness of Being Conscious- A Meeting Point Between Buddhist Reflexive Awareness and Brentano’s Inner Perception

16.10 – 16.40 Nguyen Khac Hieu, Bui Thi Lien Karma in Yogācāra Philosophy: A Solution to Challenges in Buddhist Practices in Vietnam

Room 404/8

15.50 – 16.10 สุธิดา แสงเลิศล้ำ, การวิเคราะห์แนวคิดสตรีนิยมผ่านภาพยนตร์เรื่อง คิม จียอง เกิดปี 82

16.10 – 16.40 กฤตภาศ ศักดิษฐานนท์, จากล็อคถึงชอมสกี้ ความยินยอมที่น่ากังขาในสังคมประชาธิปไตย

Friday, December 13, 2024

8.30 – 9.15 Registration

Room 401/5

9.15 – 9.45 Evander Price, Lazarus Died Twice: Locating De-extinction within Religion and Ethics

9.45 – 10. 15 Roel Peter Jan Wolters, St. Paul as the Paradigm of a Christian Way of life: Kierkegaard’s Climacus Writings on Faith/Pistis

10.15 – 10.45 Iurii Tikhonravov, The Return of the Non-Western Religions to the Discourse of Western and Global Moral Philosophy

Room 404/8

9.15 – 9.45 SHAN Yafeng, Understanding in the Social Sciences

9.45 – 10. 15 B.V.E. Hyde, Zen and Singular Causation in Science and Policy

10.15 – 10.45 Moreno Paulon, Memory Editing and Metaphors of the Mind: Philosophy of the Mind – Psychoanalysis – Epistemology

10.45 – 11.00 Break

Room 401/5

11.00 – 11.30 Haikal Fadhil Anam, Beyond Religious Boundaries: Buddhist Monk’s Prayer at Indonesia’s Mosque and Public Responses on Social Media

11.30 – 12.00 Seyed Hassan Hosseini, Beyond Classic Responses: Avicenna’s Deistic Solution to the Problem of Evil

Room 404/8

11.00 – 11.30 Fatemeh Masdari, Artificial Intelligence and Religiousness: Compatibilities and Incompatibilities

11.30 – 12.00 Ravipat Rodphothong, Epistemic Responsibility of Beliefs in the Age of Moral Diversity and Deterministic Values

12.00 – 13.00 Lunch

Room 401/5

13.00 – 13.30 Constantino Pereira Silva Martins, Philosophical and Religious Dimensions of Sport: Death, Violence, and Transcendence

13.30 – 14.00 Matthew Hammerton, Workism and its Discontents

Room 404/8

13.00 – 13.30 Hayden Sean Alexander KEE, Homo invisibilis: A Philosophical Anthropology

13.30 – 14.00 Joshua Goh, Three Notions of Causal Contribution, and New Complications in which They Figure

14.00 – 14.30 Maciek Czerkawski, Being and Utmost Generality: Introducing the Arch-Paradox of Being

14.30 – 14.45 Break

14.45 – 15.15 Pham Minh Duc, On Nothing Nothingness and the Nothingness of Existence

15.15 – 15.45 Christopher Devlin Brown, The Knowledge Argument and A Priori Inference

Saturday, December 14, 2024

8.30 – 9.15 Registration

Room 401/5

9.15 – 9.45 Nicholas Kruus, Axiological Cluelessness

9.45 – 10.15 Matt Stichter, Self-Knowledge of Our Emotions: The Connection to Our Goals, Values, and Living Well

10.15 – 10.45 Lucas Scripter, Atmospheric Kitsch

10.45 – 11.00 Break

11.00 – 11.30 Kevin Sue-A-Quan, Levinas on the Necessity of Need

11.30 – 12.00 Hassachai Mangkang, Democratic Peace and International Security in 21st Century: Kantian Political Theory Revisited

12.00 – 13.00 Lunch

13.00 – 13.30 Shane Ryan, Wise Environments

13.30 – 14.00 Brendan Wein, Disclosing God: Ineffability In the Late Schelling

14.00 – 14.30 Danielle Ravitzki Form, Function, and Self-Identification in the Definition of the Family

14.30 – 15.00 Break

15.00 – 16.00 Business Meeting of the Philosophy and Religion Society of Thailand

Registration

International presenters (attending online from outside of Thailand): 30 US Dollars

Domestic presenters: 1,200 Baht (Non-members), and 1,000 Baht (Members)

Online participants only (without presenting): 500 Baht

Registration includes PARST membership fees and the cost of attending the event. Coffee, tea, and refreshments will be served, but participants must find lunch on their own.

Posted in News | Comments Off on [Program] The 28th Annual Meeting of the Philosophy and Religion Society of Thailand

การสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญา ประจำปี พ.ศ. 2568

ประกาศสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย

การสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญา ประจำปี พ.ศ. 2568

เนื่องจากสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยและเป็นสมาชิกของสหพันธ์ปรัชญานานาชาติ (FISP) และสหพันธ์ปรัชญานานาชาติได้จัดการแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติมาระยะหนึ่งแล้ว และเนื่องจากสมาคมฯ มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการเรียนการสอนและการศึกษาปรัชญาในระดับโรงเรียนมัธยมในประเทศไทยให้กว้างขวางยิ่งขึ้น จึงได้มีมติจัดการแข่งขันโอลิมปิกปรัชญาในระดับชาติขึ้น เพื่อคัดเลือกตัวแทนไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติ ซึ่งจะจัดขึ้นที่เมืองบารี ประเทศอิตาลี ในระหว่างวันที่ 15 ถึง 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2568 นี้ (https://www.philosophy-olympiad.org/)

รายละเอียดการสอบแข่งขันโอลิมปิกปรัชญาระดับชาติ

  1. สมาคมมีสิทธิส่งนักเรียนระดับมัธยมศึกษาหรือนิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่อายุไม่เกิน 20 ปีไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติ 2 คน ดังนั้นจะคัดเลือกผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด 2 คนเป็นตัวแทนของประเทศไทย
  2. คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าแข่งขัน เป็นนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่กำลังศึกษาอยู่ในประเทศไทย หรือจบการศึกษาระดับมัธยมแล้วในขณะที่มาสอบ ในทุกกรณีต้องอายุไม่เกิน 20 ปีในปีที่มีการสอบแข่งขัน (เกิดตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2548 เป็นต้นไป)
  3. การจัดสอบแข่งขันจะจัดขึ้นในวันเสาร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2568 โดยการสอบจะเป็นรูปแบบเดียวกันกับการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติ คือมีข้อเขียนคัดสรรจากงานเขียนของนักปรัชญาจำนวนหนึ่งมาให้เลือก และเขียนเรียงความเพื่อตอบและอภิปรายเกี่ยวกับข้อเขียนนั้น ใช้เวลาสี่ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 13.00 ถึง 17.00 น. การเขียนเรียงความต้องเขียนเป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น คณะกรรมการที่สมาคมปรัชญาฯ จะแต่งตั้งขึ้นจะเป็นผู้ตรวจให้คะแนนนักเรียนที่เข้าสอบ โดยใช้รูปแบบเดียวกันกับการสอบโอลิมปิกนานาชาติ การแข่งขันจะประกาศผลออกมาเป็นชื่อนักเรียนที่ได้เป็นผู้แทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติสองคน และสำรองอีกสองคน เรียงความที่ผู้เข้าสอบเขียนควรมีเนื้อหาที่ตรงประเด็นกับหัวข้อที่เลือก (relevance to the topic) ความเข้าใจประเด็นทางปรัชญาในหัวข้อที่เลือก (philosophical understanding of the topic) การแสดงเหตุผลโต้แย้งที่น่าเชื่อถือ (persuasive power of argumentation) ความคิดริเริ่ม (originality) และความสอดคล้องกันของความคิด (coherence) ในการสอบนักเรียนสามารถนำพจนานุกรมที่เป็นเล่มเข้าไปได้ แต่ไม่อนุญาตให้นำพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์หรือโทรศัพท์มือถือเข้าสอบ
    ส่วนสถานที่จัดสอบ จะแจ้งให้ทราบภายหลัง
  4. นักเรียนที่สนใจจะสมัครเข้าสอบแข่งขันกรุณาแจ้งความจำนงและกรอกใบสมัครส่งมาที่ รองศาสตราจารย์ ดร. เทพทวี โชควศิน ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตบางเขน กทม. 10900 อีเมล์ dr.theptawee@yahoo.com โดยขอให้สแกนภาพใบสมัครและบัตรประชาชนส่งมาทางอีเมล์ ภายในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2568
  5. เนื่องจากในขณะนี้สมาคมฯ ยังไม่มีงบประมาณในการส่งนักเรียนที่ได้รับคัดเลือกให้เดินทางไปร่วมการแข่งขันที่ประเทศอิตาลี นักเรียนที่ได้เข้าร่วมโอลิมปิกนานาชาติจึงต้องออกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปยังสถานที่แข่งขันเอง ส่วนค่ากินอยู่และค่าที่พักระหว่างแข่งขันทางผู้จัดจะเป็นผู้ออกให้
  6. ค่าลงทะเบียนสมัครสอบ 500 บาท จ่ายเป็นเงินสดก่อนเข้าสอบ
  7. สมาคมฯจะจัดอบรมเนื้อหาวิชาปรัชญาและเทคนิคการเขียนคำตอบข้อสอบโอลิมปิกให้แก่ผู้เข้าสอบและผู้สนใจทั่วไป รายละเอียดจะประกาศให้ทราบอีกครั้งหนึ่ง
  8. คำตัดสินของคณะกรรมการคัดเลือกถือเป็นที่สิ้นสุด

ประกาศมา ณ วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2567
ศาสตราจารย์ ดร. โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์
นายกสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย

Posted in News | Comments Off on การสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญา ประจำปี พ.ศ. 2568

โครงการระดมสมาชิก

สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ไดัก่อตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นจุดรวมของคณาจารย์ นิสิตนักศึกษา และผู้สนใจทั่วไปที่สนใจวิชาปรัชญาและศาสนา ให้มาแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็น เพื่อพัฒนาความรู้ในด้านนี้

ตลอดเวลา 23 ปีที่ก่อตั้งสมาคมอย่างเป็นทางการมา สมาคมฯก็ได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากมวลสมาชิกมาโดยตลอด เราเคยมีสมาชิกของสมาคม ที่ลงทะเบียนอย่างเป็นทางการเกือบ 200 คน โดยส่วนใหญ่เป็นอาจารย์สาขาปรัชญาและศาสนาที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ

แต่ในระยะหลังมานี้ พบว่าผู้ที่มาร่วมกิจกรรมของสมาคม ยังไม่ได้สมัครสมาชิกอย่างเป็นทางการตามข้อบังคับ ทั้งนี้เนื่องจากการสมัครเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ ต้องเสียค่าสมาชิก ครั้งแรก 300 บาท ครั้งต่อๆไปปีละ 200 บาท ผู้บริหารของสมาคมก็ได้ผ่อนผันเรื่อยมา เมื่อมีเสียงเรียกร้องว่าขอเข้าร่วมกิจกรรมของสมาคมโดยไม่ต้องสมัครเป็นสมาชิก สถานการณ์เช่นนี้ทำให้เมื่อเวลาผ่านไปหลายๆปี สมาชิกที่มีอยู่ก็เริ่มแก่ตัวลง หลายท่านเกษียณอายุไปแล้ว หลายท่านก็ติดตามไม่ได้ ทำให้สมาคมไม่ได้เก็บค่าสมาชิก อันเป็นรายได้หลักของสมาคมมาหลายปีแล้ว

คณะกรรมการบริหารของสมาคม จึงเห็นว่า ควรจัดทำโครงการระดมสมาชิกขึ้นมาใหม่ เพื่อทำทะเบียนสมาชิกให้เป็นตามจริง และให้สมาชิกได้รับประโยชน์จากการมีส่วนร่วมกับสมาคมได้อย่างเต็มที่

สิทธิประโยชน์ของการเป็นสมาชิกของสมาคมฯ มีเขียนไว้ในข้อบังคับของสมาคมฯ ข้อ 12 ดังต่อไปนี้ (รวมถึงหน้าที่ด้วย):

ข้อ 12. สิทธิและหน้าที่ของสมาชิก

12.1) มีสิทธิเข้าใช้สถานที่ของสมาคมโดยเท่าเทียมกัน
12.2) มีสิทธิเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการของสมาคมต่อคณะกรรมการ
12.3) มีสิทธิได้รับสวัสดิ์การต่างๆ ที่สมาคมได้จัดให้มีขึ้น
12.4) มีสิทธิเข้าร่วมประชุมใหญ่ของสมาคม
12.5) สมาชิกสามัญมีสิทธิในการเลือกตั้ง หรือได้รับการเลือกตั้ง หรือแต่งตั้งเป็นกรรมการสมาคม และมีสิทธิออกเสียงลงมติต่างๆ ในที่ประชุมได้คนละ 1 คะแนนเสียง
12.6) มีสิทธิร้องขอต่อคณะกรรมการ เพื่อตรวจสอบเอกสารและบัญชีทรัพย์สินของสมาคม
12.7) มีสิทธิเข้าชื่อรวมกันอย่างน้อย 1 ใน 5 ของสมาชิกสามัญทั้งหมด หรือสมาชิกจำนวนไม่น้อยกว่า 100 คน ทำหนังสือร้องขอต่อคณะกรรมการให้จัดประชุมใหญ่วิสามัญได้
12.8) มีหน้าที่จะต้องปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติ และข้อบังคับของสมาคมโดยเคร่งครัด
12.9) มีหน้าที่ประพฤติตนให้สมกับเกียรติที่เป็นสมาชิกของสมาคม
12.10) มีหน้าที่ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการดำเนินกิจการต่างๆ ของสมาคม
12.11) มีหน้าที่ร่วมกิจกรรมที่สมาคมได้จัดให้มีขึ้น
12.12) มีหน้าที่ช่วยเผยแพร่ชื่อเสียงของสมาคมให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
12.13) มีสิทธิเข้าร่วมประชุมทางวิชาการ ฟังการอภิปรายหรือปาฐกถาและร่วมในการสัมมนาหรือการประชุมทางวิชาการที่สมาคมจัดขึ้น
12.14) มีสิทธิเข้าร่วมประชุมใหญ่ อภิปรายในปัญหาหรือญัตติใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับสมาคม
12.15) เฉพาะสมาชิกสามัญ มีสิทธิได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการของสมาคม
12.16) มีสิทธิเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจการของสมาคม ไต่ถามหรือขอดูหลักฐานและบัญชีการเงินต่างๆ ของสมาคม
12.17) มีสิทธิได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนของสมาคมไปร่วมประชุมทางวิชาการ ตามที่คณะกรรมการบริหารสมาคมเห็นชอบและอนุมัติ
12.18) มีสิทธิได้รับเอกสารทางวิชาการของสมาคมและบริการอื่นๆ ที่สมาคมอำนวยให้

จะเห็นได้ว่าเฉพาะสิทธิอย่างเดียว ไม่รวมหน้าที่ มีถึง 13 ข้อ และอยากเรียนว่า สิทธิที่สำคัญที่สุดของสมาชิก ได้แก่ข้อ 12.5 ที่บอกว่าสมาชิกมีสิทธิเสนอตัวเข้าไปเป็นกรรมการของสมาคม และมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกด้วยกันเข้าไปเป็นกรรมการสมาคม

อันนี้สำคัญที่สุดครับ เพราะในรอบหลายปีที่ผ่านมา ทะเบียนสมาชิกของสมาคมได้เกิดปัญหาดังที่กล่าวมา ทำให้ไม่สามารถจัดการเลือกตั้งกรรมการชุดใหม่ของสมาคมได้ ทำให้ชุดที่ผมเป็นนายกอยู่นี้ รักษาการมาเป็นเวลาหลายปีแล้ว ยิ่งเกิดสถานการณ์โควิด ยิ่งทำให้กิจกรรมต่างๆชะงักไปเป็นอันมาก ดังนั้นเมื่อผ่านพ้นสถานการณ์โควิดมา ก็สมควรที่จะระดมสมาชิกกันใหม่ เพื่อที่จะได้เลือกตั้งกรรมการชุดใหม่ แล้วกรรมการก็เลือกกันเองว่าใครเป็นนายก ใครเป็นอุปนายก ฯลฯ ตามข้อบังคับ

จึงอยากเรียนเชิญให้ทุกท่านในวงการปรัชญา หรือที่สนใจอยากเข้าร่วมกิจกรรมของสมาคม สมัครเข้ามาเป็นสมาชิกนะครับ โดยกรอกแบบฟอร์มที่อยู่ในเว็บของสมาคม ไปที่ http://www.parst.or.th/ แล้วคลิกที่ลิงค์ “สมัครสมาชิก” แล้วกรอกแบบฟอร์มในนั้นพร้อมจ่ายค่าลงทะเบียนแรกเข้ากับค่าบำรุงสมาชิก รวมกันเป็น 300 บาท หรือถ้าใครอยากเป็นสมาชิกตลอดชีพ ก็จ่าย 5,000 บาท แล้วสำหรับสมาชิกสามัญกับสมทบ (ที่ไม่ใช่ตลอดชีพ) ปีต่อๆไปก็จ่ายค่าสมาชิก ปีละ 200 บาท

ขอบคุณมากๆครับ

โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์
นายกสมาคม

Posted in News | Comments Off on โครงการระดมสมาชิก

การสมัครสมาชิกสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย

สมัครสมาชิกสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทยได้ที่ https://forms.gle/7Z9ENpxyreYotFnTA

Posted in News | Comments Off on การสมัครสมาชิกสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย

CfP: 28th Annual Meeting of the PARST

Papers are being called for the upcoming 28th Annual Meeting of the Philosophy and Religion Society of Thailand (PARST), from December 12 – 14, 2024 at Chulalongkorn University. The time zone of the Meeting will be Bangkok time zone, which is 7 hours ahead of GMT in winter.

Papers on any topics in philosophy or religious studies are welcome. However, the advertised theme of this year’s Annual Meeting is “Political Philosophy”.

Papers should be between 10- 15 pages and must be submitted to us on or before November 15, 2021. The reference style is APA. Notification to authors will be sent by November 30.

Papers can be submitted either in English or Thai. We will separate English-speaking and Thai-speaking paper presenters in separate rooms or sessions.

We will hold the conference both in online and onsite formats. Those whose papers are accepted but cannot travel to the Chula campus are encouraged to present their papers online instead.

Those whose papers are selected for presentation will be invited to submit a revised version for possible inclusion in the Journal of the PARST after the Meeting.

Registration Fees

International presenters (attending online from outside of Thailand): 30 US Dollars
Domestic presenters: 1,200 Baht (Non-members), and 1,000 Baht (Members)
Online participants only: 500 Baht

Important Dates

Deadline for submitting a paper – November 15, 2024
Notification of acceptance/rejection – November 30, 2024
28th Annual Meeting – December 12 – 14, 2027

Venue

Mahachakri Building, Faculty of Arts, Chulalongkorn University

Please send your papers to Dr. Theptawee Chokvasin, Executive Member of the PARST, at dr.theptawee AT yahoo.com.

Questions about everything related to the organization of the conference can be directed to Dr. Jerd Bandasak, at jerdonly AT gmail.com.

Posted in News | Comments Off on CfP: 28th Annual Meeting of the PARST

การสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญา ประจำปี พ.ศ. 2567

ประกาศสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย

การสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญา ประจำปี พ.ศ. 2567

เนื่องจากสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยและเป็นสมาชิกของสหพันธ์ปรัชญานานาชาติ (FISP) และสหพันธ์ปรัชญานานาชาติได้จัดการแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติมาระยะหนึ่งแล้ว และเนื่องจากสมาคมฯมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการเรียนการสอนและการศึกษาปรัชญาในระดับโรงเรียนมัธยมในประเทศไทยให้กว้างขวางยิ่งขึ้น จึงได้มีมติจัดการแข่งขันโอลิมปิกปรัชญาในระดับชาติขึ้น เพื่อคัดเลือกตัวแทนไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติ ซึ่งจะจัดขึ้นที่เมืองเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ ในระหว่างวันที่ 16 ถึง 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 นี้ (https://www.philosophy-olympiad.org/)

รายละเอียดการสอบแข่งขันโอลิมปิกปรัชญาระดับชาติ

  1. สมาคมมีสิทธิส่งนักเรียนระดับมัธยมศึกษาหรือนิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่อายุไม่เกิน 20 ปีไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติ 2 คน ดังนั้นจะคัดเลือกผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด 2 คนเป็นตัวแทนของประเทศไทย
  2. คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าแข่งขัน เป็นนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่กำลังศึกษาอยู่ในประเทศไทย หรือจบการศึกษาระดับมัธยมแล้วในขณะที่มาสอบ ในทุกกรณีต้องอายุไม่เกิน 20 ปีในปีที่มีการสอบแข่งขัน (เกิดตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป)
  3. การจัดสอบแข่งขันจะจัดขึ้นในวันเสาร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2567 (สถานที่สอบจะประกาศให้ทราบต่อไป) โดยการสอบจะเป็นรูปแบบเดียวกันกับการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติ คือมีข้อเขียนคัดสรรจากงานเขียนของนักปรัชญาจำนวนหนึ่งมาให้เลือก และเขียนเรียงความเพื่อตอบและอภิปรายเกี่ยวกับข้อเขียนนั้น ใช้เวลาสี่ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 13.00 ถึง 17.00 น. การเขียนเรียงความต้องเขียนเป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น คณะกรรมการที่สมาคมปรัชญาฯจะแต่งตั้งขึ้นจะเป็นผู้ตรวจให้คะแนนนักเรียนที่เข้าสอบ โดยใช้รูปแบบเดียวกันกับการสอบโอลิมปิกนานาชาติ การแข่งขันจะประกาศผลออกมาเป็นชื่อนักเรียนที่ได้เป็นผู้แทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติสองคน และสำรองอีกสองคน เรียงความที่ผู้เข้าสอบเขียนควรมีเนื้อหาที่ตรงประเด็นกับหัวข้อที่เลือก (relevance to the topic) ความเข้าใจประเด็นทางปรัชญาในหัวข้อที่เลือก (philosophical understanding of the topic) การแสดงเหตุผลโต้แย้งที่น่าเชื่อถือ (persuasive power of argumentation) ความคิดริเริ่ม (originality) และความสอดคล้องกันของความคิด (coherence) ในการสอบนักเรียนสามารถนำพจนานุกรมที่เป็นเล่มเข้าไปได้ แต่ไม่อนุญาตให้นำพจนานุกรมอีเล็คโทรนิกส์หรือโทรศัพท์มือถือเข้าสอบ
  4. นักเรียนที่สนใจจะสมัครเข้าสอบแข่งขันกรุณาแจ้งความจำนงและกรอกใบสมัครส่งมาที่ รองศาสตราจารย์ ดร. เทพทวี โชควศิน ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตบางเขน กทม. 10900 อีเมล์ dr.theptawee@yahoo.com โดยขอให้สแกนภาพใบสมัครและบัตรประชาชนส่งมาทางอีเมล์ ภายในวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2567 หรือส่งมาทางกูเกิ้ลฟอร์มนี้ก็ได้
  5. เนื่องจากในขณะนี้สมาคมฯยังไม่มีงบประมาณในการส่งนักเรียนที่ได้รับคัดเลือกให้เดินทางไปร่วมการแข่งขันที่ประเทศกรีซ นักเรียนที่ได้เข้าร่วมโอลิมปิกนานาชาติจึงต้องออกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปยังสถานที่แข่งขันเอง (หากกรรมการนานาชาติมีมติให้จัดการแข่งขัน) ส่วนค่ากินอยู่และค่าที่พักระหว่างแข่งขันทางผู้จัดจะเป็นผู้ออกให้
  6. ค่าลงทะเบียนสมัครสอบ 500 บาท จ่ายเป็นเงินสดก่อนเข้าสอบ
  7. สมาคมฯจะจัดอบรมเนื้อหาวิชาปรัชญาและเทคนิคการเขียนคำตอบข้อสอบโอลิมปิคให้แก่ผู้เข้าสอบและผู้สนใจทั่วไป รายละเอียดจะประกาศให้ทราบอีกครั้งหนึ่ง
  8. คำตัดสินของคณะกรรมการคัดเลือกถือเป็นที่สิ้นสุด

ประกาศมา ณ วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2566

ศาสตราจารย์ ดร. โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์
นายกสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย

Posted in News | Comments Off on การสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญา ประจำปี พ.ศ. 2567

การสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญา ประจำปี พ.ศ. 2566

ประกาศสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย

การสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญา ประจำปี พ.ศ. 2566

เนื่องจากสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยและเป็นสมาชิกของสหพันธ์ปรัชญานานาชาติ (FISP) และสหพันธ์ปรัชญานานาชาติได้จัดการแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติมาระยะหนึ่งแล้ว และเนื่องจากสมาคมฯมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการเรียนการสอนและการศึกษาปรัชญาในระดับโรงเรียนมัธยมในประเทศไทยให้กว้างขวางยิ่งขึ้น จึงได้มีมติจัดการแข่งขันโอลิมปิกปรัชญาในระดับชาติขึ้น เพื่อคัดเลือกตัวแทนไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติ ซึ่งจะจัดขึ้นที่เมืองโอลิมเปีย ประเทศกรีซ ในระหว่างวันที่ 11 ถึง 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 นี้ (https://www.philosophy-olympiad.org/)

รายละเอียดการสอบแข่งขันโอลิมปิกปรัชญาระดับชาติ

  1. สมาคมมีสิทธิส่งนักเรียนระดับมัธยมศึกษาหรือนิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่อายุไม่เกิน 20 ปีไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติ 2 คน ดังนั้นจะคัดเลือกผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด 2 คนเป็นตัวแทนของประเทศไทย
  2. คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าแข่งขัน เป็นนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่กำลังศึกษาอยู่ในประเทศไทย หรือจบการศึกษาระดับมัธยมแล้วในขณะที่มาสอบ ในทุกกรณีต้องอายุไม่เกิน 20 ปีในปีที่มีการสอบแข่งขัน (เกิดตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 เป็นต้นไป)
  3. การจัดสอบแข่งขันจะจัดขึ้นในวันเสาร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการสอบจะเป็นรูปแบบเดียวกันกับการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติ คือมีข้อเขียนคัดสรรจากงานเขียนของนักปรัชญาจำนวนหนึ่งมาให้เลือก และเขียนเรียงความเพื่อตอบและอภิปรายเกี่ยวกับข้อเขียนนั้น ใช้เวลาสี่ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 9.00 ถึง 13.00 น. การเขียนเรียงความต้องเขียนเป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น คณะกรรมการที่สมาคมปรัชญาฯจะแต่งตั้งขึ้นจะเป็นผู้ตรวจให้คะแนนนักเรียนที่เข้าสอบ โดยใช้รูปแบบเดียวกันกับการสอบโอลิมปิกนานาชาติ การแข่งขันจะประกาศผลออกมาเป็นชื่อนักเรียนที่ได้เป็นผู้แทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติสองคน และสำรองอีกสองคน เรียงความที่ผู้เข้าสอบเขียนควรมีเนื้อหาที่ตรงประเด็นกับหัวข้อที่เลือก (relevance to the topic) ความเข้าใจประเด็นทางปรัชญาในหัวข้อที่เลือก (philosophical understanding of the topic) การแสดงเหตุผลโต้แย้งที่น่าเชื่อถือ (persuasive power of argumentation) ความคิดริเริ่ม (originality) และความสอดคล้องกันของความคิด (coherence) ในการสอบนักเรียนสามารถนำพจนานุกรมที่เป็นเล่มเข้าไปได้ แต่ไม่อนุญาตให้นำพจนานุกรมอีเล็คโทรนิกส์หรือโทรศัพท์มือถือเข้าสอบ
  4. นักเรียนที่สนใจจะสมัครเข้าสอบแข่งขันกรุณาแจ้งความจำนงและกรอกใบสมัครส่งมาที่ รองศาสตราจารย์ ดร. เทพทวี โชควศิน ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตบางเขน กทม. 10900 อีเมล์ dr.theptawee@yahoo.com โดยขอให้สแกนภาพใบสมัครและบัตรประชาชนส่งมาทางอีเมล์ ภายในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2566
  5. เนื่องจากในขณะนี้สมาคมฯยังไม่มีงบประมาณในการส่งนักเรียนที่ได้รับคัดเลือกให้เดินทางไปร่วมการแข่งขันที่ประเทศกรีซ นักเรียนที่ได้เข้าร่วมโอลิมปิกนานาชาติจึงต้องออกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปยังสถานที่แข่งขันเอง ส่วนค่ากินอยู่และค่าที่พักระหว่างแข่งขันทางผู้จัดจะเป็นผู้ออกให้
  6. ค่าลงทะเบียนสมัครสอบ 500 บาท จ่ายเป็นเงินสดก่อนเข้าสอบ
  7. สมาคมฯจะจัดอบรมเนื้อหาวิชาปรัชญาและเทคนิคการเขียนคำตอบข้อสอบโอลิมปิคให้แก่ผู้เข้าสอบและผู้สนใจทั่วไป รายละเอียดจะประกาศให้ทราบอีกครั้งหนึ่ง
  8. คำตัดสินของคณะกรรมการคัดเลือกถือเป็นที่สิ้นสุด

ประกาศมา ณ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ศาสตราจารย์ ดร. โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์
นายกสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย

คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดใบสมัครสอบ

Posted in News | Comments Off on การสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญา ประจำปี พ.ศ. 2566

Call for Papers: The 27th Annual Meeting of the Philosophy and Religion Society of Thailand

International Buddhist Studies College, Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Ayutthaya, Thailand
October 27-28, 2023

The Philosophy and Religion Society of Thailand (PARST) will convene its 27th Annual Meeting on October 27 and 28, 2023 at the International Buddhist Studies College, Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Ayutthaya, Thailand (map: https://goo.gl/maps/Modziaban2zrt2CH7). Papers are being called for this event. There is no pre-set theme this time, and papers in all fields within and related to philosophy or religious studies are welcome.

We accept both full papers and extended abstracts. Full papers should not exceed 15 pages on A4 paper. The extended abstract must be between 1 to 3 pages. Please use the American Psychological Association (APA) reference style for both the full papers and extended abstracts.

Papers and extended abstracts should be sent as a Microsoft Word file (.doc or .docx) to Associate Professor Dr. Theptawee Chokvasin at dr.theptawee@yahoo.com. Papers and abstracts will be peer-reviewed and the result will be announced well before the meeting.

The conference will be organized in a hybrid format. It is possible to attend the event online.

Important deadlines

September 30, 2023 Deadline for submitting papers and abstracts
October 10, 2023 Announcement of the referees’ decision
October 27-28, 2023 The 27th Annual Meeting of the PARST
Registration

Registration fee is 500 bath. This includes PARST membership fees and the cost of attending the event. Coffee, tea, and refreshments will be served, but participants must buy lunch on their own at the IBSC canteen or other nearby restaurants.

Please contact Asst. Prof. Dr. Jerd Bandasak at jerdonly@gmail.com for information about paying for the registration fees and attending the conference online from a foreign country.

Posted in News | Comments Off on Call for Papers: The 27th Annual Meeting of the Philosophy and Religion Society of Thailand

คลิปวีดิโอการเสวนาของสมาคมปรัชญาฯ ในหัวข้อ “ปรัชญาในสังคมไทย”

คลิปวีดิโอการเสวนาของสมาคมปรัชญาฯ ในหัวข้อ “ปรัชญาในสังคมไทย”
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 เวลา 19.00-21.00 น. 

Posted in News | Comments Off on คลิปวีดิโอการเสวนาของสมาคมปรัชญาฯ ในหัวข้อ “ปรัชญาในสังคมไทย”

Annual General Meeting of the Philosophy and Religion Society of Thailand

Tuesday, December 21, 2021

8.30 – 9.00 Registration

9.00 – 10.15 Panel Discussion (in English): “Doing Research in Philosophy and/or Religion in South-east Asia” / Panelists: Frank Hoffman and Warayuth Sriwarakuel / Moderator: Soraj Hongladarom

10.15 –10.30 Break English Papers

10:00-10:20 Samuel McCormick / “Buddhist Heidegger & Buddhist Lacan in Thailand Today”

10:20-10:40 Lois Lee / “A Jamesian Circularity: The Concept of the Divine in the Perception of Religious Objects”

10:40-11:00 Nicholas Rimell “Animalism Is Interesting, Important, and (Quite Plausibly) True”

11:00-11:20 Hazel T. Biana / “My Love from Southeast Asia: Viewpoints on Immortality and Reincarnation in K-dramas”

11:20-11:40 Virgilio A. Rivas / “Everyday Nihilism in Southeast Asia: Interpolating Spiritual Life with the Brain-Screen”

11:40-12:00 Jeremiah Joven Joaquin and Soraj Hongladarom / “Global Philosophy of Religion Project: Plans and Prospects”

12.00 – 13.00 Lunch 13:00-13:20 Frank J. Hoffman / “Taking a Point of View on a Debatable Question Concerning Karma and Rebirth.”

13:20-13:40 Audwin Wilkinson / “Interlanguage and Interbeing: A Buddhist Model for Advanced Language Acquisition”

13:40-14:00 Phurpa Dorji / “Shantideva’s Emptiness and Mehm Tim Mon’s Three Characteristics”

14:00-14:20 Christos Tsitsiridakis / “A Journey through the Mediaeval Argumentation for God’s Existence”

14.20-14.30 Break

14:30-14:50 Jan Mehlich / “Epistemological and Metaethical Constructivism in Buddhist Philosophy”

14:50-15:10 Pablo B. Sánchez Gómez / “The End of Times and the Messianism in Martin Heidegger’s and Jacques Derrida’s Work”

15:10-15:30 Lim Mun Chin / “Buddhism, Funeral Rites, and Theravada Tradition”

15:30-15:50 Pattamawadee Sankheangaew / “A Problematic Study of Modern Japanese Philosophy in Thailand: A Digital Era and Globalization”

Wednesday, December 22, 2021

8.30 – 9.00 Registration English Papers

9:00-9:20 Bhante Tenzin Dorjee / “The Nāgarjuna’s Concept of the Nirvāṇa”

9:20-9:40 Kanchana Horsaengchai / “An Integrated Model of Ecological Farming and Sustainable Development by Buddhist Peaceful Means”

9:40-10:00 Anoma Sakhare / “Anāgārika Dhammapāla’s Contribution in the Proliferation of Buddhism”

10.00-10:20 Venerable Shimo Sraman / “Buddhist Ethos of Cordiality and its Pertinency as a Network for Monastic Community Singularity”

10:20-10:40 Julius, Zhu Leijie / “Self or Non-self: An Epistemological Survey from Early Buddhism Perspective”

12.00 – 13.00 Lunch

13.00-14.15 (Thai Discussion Panel) การวิจัยด้านปรัชญาและศาสนา (ปรัชญาศาสนา) ในสังคมไทย วิทยากร (1) ผศ.ดร.วรากรณ์ พูลสวัสดิ์ ม.ราชภัฎนครปฐม (2) พระมหาขวัญชัย กิตติเมธี (ดร.) คณะพุทธศาสตร์ มจร. ผู้ดำเนินรายการ: ผศ.ดร.อันธิฌา แสงชัย (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี)

14.15-14.30 Closing Ceremony

Registration Non-members, 1,000 Baht Members of the PARST, 800 Baht Foreign participants (members or non-members), 30 US dollars Please pay via Western Union, Jerd Bandasak, and send your payment receipt to Jignsru@gmail.com

Posted in News | Comments Off on Annual General Meeting of the Philosophy and Religion Society of Thailand